วันพุธที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2554

บันทึการเรียนรู้ครั้งที่15
วันพุุธที่28เดือนกันยายน พ.ศ. 2554
- ส่งงาน (เกมการศึกษา หน่วยที่4 ประสาทสัมผัส)
- สรุปงาน

- ส่งงาน (เกมการศึกษา หน่วยที่4 ประสาทสัมผัส)
- สรุปงาน
- พูดถึงการทำสื่อ ควรคำนึงถึงอะไรบ้าง
           - ส่งเสริมพัฒนาการ
           - ทักษะ
           - ประสบการณ์
           - เนื้อหาสาระ
- พูดถึงการเก็บรักษาของ งานที่ทำให้เป็นระเบียบและสะดวกต่อการใช้งาน
- ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ การเรียนสื่อการเรียนรู้ นี้ได้อะไรบ้าง
           - เทคนิคการทำสื่อ
           - การทำสื่อจากเศษวัสดุ
           - ปัจจัยหลักของการทำสื่อ
           - การเรียนรู้โดยการใช้เทคโนโลยี ฯลฯ
-หัวใจหลักของเกมส์การศึกษา คือ สาระ
-การเรียนรู้ คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
-พัฒนาการ คือ ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

* วันพุธที้ 5 สอบปลายภาค(นอกตาราง)







วันอาทิตย์ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14
วันพุธที่  21  เดือน กันยายน พ.ศ.2554


-ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากนักศึกษาชั้นปีที่ 2 จัดการแสดงนาฏศิลป์ไทยในรายวิชา  
การจัดประสบการณ์นาฏศิลป์และเพลงสำหรับเด็กปฐมวัย (EAED2203)
ณ  อาคารจันทรา-กาญจนาภิเษก  (ช้น8)  วันที่21  กันยายน  พ.ศ.2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่่  13
วัน พุธ ที่ 14 เดือน กันยายน พ.ศ.2554
 
-วันนี้ได้แจกเอกสารเกมการศึกษาอาจารย์ได้อธิบายถึงเกมการศึกษา
 -บอกวิธีการทำเกมการศึกษาที่ถูกต้องและอาจาร์ได้ตรวจบล็อคของนักศึกษา

วันเสาร์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12
วัน พุธ ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2554
- อาจารย์ได้อธิบายถึงเรื่องเกมการศึกษาและให้นักศึกษาจับกลุ่มกลุ่มละ4-5คนเพื่อจัดทำเกมการศึกษา    ในแต่ละหน่วย 
-   อาจารย์ให้ฉลาก  ได้หน่วย  ที่   4 ประสาทสัมผัส
-  ให้กระดาษ แข็งไปทำเกมการศึกษา
-  นำหนังสือเกมการศึกษาของอาจารย์ไปถ่ายเอกสารแล้วนำไปศึกษาการทำเกมการศึกษา
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11
วัน พุธ  ที่ 31  เดือน สิงหาคม  พ.ศ. 2554 
 - อาจารย์ให้นักศึกษาสรุป เกมการศึกษา จาก Mindmap
  - อาจารย์ร่วมกับนักศึกษาร่วมกันสรุป เกมการศึกษา
  - อาจารย์ให้แบ่งกลุม 3-5 คน ฉับฉลากทำเกมการศึกษาแต่ละหน่วย

อาจารย์ส่งงาน
  • ทำเกมการศึกษามาส่ง
  • ทำ Mindmap จากโปรแกรม Mindmap  เรื่องเกมการศึกษา
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่  10
วัน พุธ ที่ 24 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2552

 ทำไมต้องทำสื่อ
 - เพื่อรู้เทคนิคในการทำสื่อเพื่อนำไปพัฒนาในกสรสอนเด็ก
 - ถ่ายทอดความรู้ ถ่ายทอดทักษะ
  - สิ่งที่สร้างขึ้นมา / ผลิต
  -ของจริง / สถานการณ์จริง
  ต้นแบบ 
 - เพลง
 - นิทาน
 - เกมการศึกษา 
  เทคนิค
 - เคลื่อนไหว   - เดิน   - 2 มิติ , 3 มิติ
  - หมุน      - Popup      - เชื่อก
  - ทำภาพนูน         - วัตถุเสมือน

- สื่อเป็นตัวถ่ายทอด  สื่อต้องมีโอกาสให้เด็กได้สังเกต
- สื่อต้องสอดคล้องกับการเรียนรู้
- สื่อเป็นตัวถ่ายทอดความรู้และทักษะ
- อาจารย์ ยกตัวอย่างในการทำสื่อ พับ เช่น รูปสุนัข

ตัวกำกับ


 - ตัวเด็ก > แข็งแรงไหม ( ความแข็งแรงของสื่อ )
- สาระของเรื่อง 
 เช่น หน่วยของผลไม้  เคลื่อนไหวและจังหวะ
 เพลง ส้มโอ มังคุด ละมุด ลำใย                                                                                                                             มะเฟือง มะไฟ ขนุน น้อยหน่า
 > จะใช้ในเหตุการณ์ไหน จังหวะไหน                                                                                                       > เสริมประสบการณ์ ของจริง นิทาน
  > คำคล้องจอง ภาพต่างๆ
- เวลา > ประหยัดเวลา
- งบประมาณ
- การเคลื่อไหวและจังหวะ
- ภาพ ( การประกอบอาหาร )
- เกมการศึกษา
- กลางแจ้ง > เครื่องเล่นสนาม เข่น ทราย , ล้อยาง > คิดออกแบบเกม > กระโดด
- ศิลปะสร้างสรรค์ > สีน้ำ , ดินน้ำมัน , สีเทียน
- เกมอิสระ > เล่นตามมุม